อนุทิน 4
ตอบคำถามต่อไปนี้ (1-3 พ.ร.บ.ภาคบังคับ, 4 พ.ร.บ.บริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ)
1.เหตุผลทำไมต้องประกาศพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545
ตอบ เหตุผลที่ต้องประกาศพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545 เพราะกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติได้กำหนดให้ บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคล ซึ่งอยู่ในความ ดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับจำนวนเก้าปี โดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ดเข้าเรียนในสถาน ศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุย่างเข้าปีที่สิบหก เว้นแต่จะสอบได้ชั้นปีที่เก้าของการศึกษาภาคบังคับ จึงสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการประถมศึกษา เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับกฎหมาย
ตอบ เหตุผลที่ต้องประกาศพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545 เพราะกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติได้กำหนดให้ บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคล ซึ่งอยู่ในความ ดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับจำนวนเก้าปี โดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ดเข้าเรียนในสถาน ศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุย่างเข้าปีที่สิบหก เว้นแต่จะสอบได้ชั้นปีที่เก้าของการศึกษาภาคบังคับ จึงสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการประถมศึกษา เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับกฎหมาย
2.ท่านเข้าใจความหมายตามพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545 อย่างไร
ก. ผู้ปกครอง ข.เด็ก ค.การศึกษาภาคบังคับ ง. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตอบ “ผู้ปกครอง” หมายถึง บิดามารดา ซึ่งเป็นผู้ที่ใช้อำนาจปกครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และรวมถึงบุคคลที่เด็กอยู่ด้วยเป็นประจำหรือที่เด็กอยู่รับใช้การงาน “เด็ก” หมายถึง เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ดจนถึงอายุย่างเข้าปีที่สิบหก เว้นแต่เด็กที่สอบได้ชั้นปีที่เก้า ของการศึกษาภาคบังคับแล้ว “การศึกษาภาคบังคับ” หมายถึง การศึกษาชั้นปีที่หนึ่งถึง ชั้นปีที่เก้าของการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” หมายถึง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีสถานศึกษาอยู่ในสังกัด
ก. ผู้ปกครอง ข.เด็ก ค.การศึกษาภาคบังคับ ง. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตอบ “ผู้ปกครอง” หมายถึง บิดามารดา ซึ่งเป็นผู้ที่ใช้อำนาจปกครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และรวมถึงบุคคลที่เด็กอยู่ด้วยเป็นประจำหรือที่เด็กอยู่รับใช้การงาน “เด็ก” หมายถึง เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ดจนถึงอายุย่างเข้าปีที่สิบหก เว้นแต่เด็กที่สอบได้ชั้นปีที่เก้า ของการศึกษาภาคบังคับแล้ว “การศึกษาภาคบังคับ” หมายถึง การศึกษาชั้นปีที่หนึ่งถึง ชั้นปีที่เก้าของการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” หมายถึง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีสถานศึกษาอยู่ในสังกัด
3.กรณีผู้ปกครองไม่ส่งเข้าเรียนตามที่กฎหมายฉบับนี้กำหนดจะต้องถูกลงโทษอย่างไร และถ้าเด็กไม่สามารถเข้ารับการศึกษาใครจะเป็นผู้มีอำนาจในการผ่อนผันเด็กเข้าเรียน
ตอบ กรณีที่ผู้ปกครองไม่ปฏิบัติตาม มาตราที่ 6 คือ ให้ผู้ปกครองส่งเด็กเข้าเรียนในสถานศึกษา หากผู้ปกครองไม่ปฏิบัติตามดังกล่าวผู้ปกครองจะมีบทลงโทษตาม มาตราที่ 13 คือ ต้องระวางทาปรับไม่เกิดหนึ่งพันบาท
ตอบ กรณีที่ผู้ปกครองไม่ปฏิบัติตาม มาตราที่ 6 คือ ให้ผู้ปกครองส่งเด็กเข้าเรียนในสถานศึกษา หากผู้ปกครองไม่ปฏิบัติตามดังกล่าวผู้ปกครองจะมีบทลงโทษตาม มาตราที่ 13 คือ ต้องระวางทาปรับไม่เกิดหนึ่งพันบาท
กรณีที่สอง หากเด็กไม่สามารถเข้ารับการศึกษาผู้ที่อำนาจในการจัดผ่อนผันเด็กเข้าเรียนคือ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจเข้าไปในสถานที่ใดๆ ตามมาตราที่ 7
กฎหมายฉบับนี้กำหนดจะต้องถูกลงโทษโดยปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท แล้วให้ผู้ปกครองส่งเด็กเข้าเรียนในสถานศึกษา เมื่อผู้ปกครองร้องขอ ให้สถานศึกษามีอำนาจผ่อนผัน ให้เด็กเข้าเรียนก่อนหรือหลังอายุตามเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับได้ ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด
4. ให้นักศึกษาสรุปประเด็นสำคัญที่ได้จากการอ่านพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ มีทั้งหมด 21 ข้อ
ตอบ 1. อำนาจหน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการกำหนดไว้ในกฎหมายฉบับใด
ตอบ ค. พรบ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
2.ข้อใดคืออำนาจหน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
3.การจัดระเบียบกระทรวงศึกษาธิการจัดได้เป็น 3 ส่วนคือข้อใด
ตอบ ง.ส่วนกลาง เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาของรัฐระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคล
4.การกำหนดตำแหน่งและอัตราเงินเดือนของข้าราชการในกระทรวงศึกษาธิการให้คำนึงถึงข้อใด
ตอบ ค. พรบ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
2.ข้อใดคืออำนาจหน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
3.การจัดระเบียบกระทรวงศึกษาธิการจัดได้เป็น 3 ส่วนคือข้อใด
ตอบ ง.ส่วนกลาง เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาของรัฐระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคล
4.การกำหนดตำแหน่งและอัตราเงินเดือนของข้าราชการในกระทรวงศึกษาธิการให้คำนึงถึงข้อใด
ตอบ ข้อ ก และ ข ถูกต้อง
5.บทบาทของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ที่จะต้องดำเนินการตาม พรบ. นี้คือข้อใด
ตอบ ง. ข้อ ก และ ข ถูกต้อง
6.ข้อใดคือการจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
7.ส่วนราชการส่วนกลางของกระทรวงศึกษาธิการตามข้อใดที่ไม่เป็นนิติบุคคล
ตอบ ก. สำนักงานรัฐมนตรี
8.ใครเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในกระทรวงศึกษาธิการ
ตอบ ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
9.ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของสภาการศึกษา
ตอบ ค. ประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
10.ใครเป็นประธานคณะกรรมการสภาการศึกษา
ตอบ ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
11. . คณะกรรมการชุดใดที่กำหนดตำแหน่งประธานกรรมการไว้ในพรบ.นี้
ตอบ ก. คณะกรรมการสภาการศึกษา
12.ใครทำหน้าที่รับผิดชอบงานเลขานุการของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตอบ ง. ข้อ ก และ ข ถูกต้อง
13.บุคคลใดต่อไปนี้เป็นข้าราชการการเมือง
ตอบ ง. ข้อ ข และ ค ถูก
14.ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ
ตอบ ง. ติดตาม ประเมินผลนโยบายตามภารกิจ
15.หน่วยงานระดับใดสามารถมีผู้ตรวจราชการได้
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ข้อ ก และ ข ถูกต้อง
6.ข้อใดคือการจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
7.ส่วนราชการส่วนกลางของกระทรวงศึกษาธิการตามข้อใดที่ไม่เป็นนิติบุคคล
ตอบ ก. สำนักงานรัฐมนตรี
8.ใครเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในกระทรวงศึกษาธิการ
ตอบ ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
9.ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของสภาการศึกษา
ตอบ ค. ประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
10.ใครเป็นประธานคณะกรรมการสภาการศึกษา
ตอบ ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
11. . คณะกรรมการชุดใดที่กำหนดตำแหน่งประธานกรรมการไว้ในพรบ.นี้
ตอบ ก. คณะกรรมการสภาการศึกษา
12.ใครทำหน้าที่รับผิดชอบงานเลขานุการของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตอบ ง. ข้อ ก และ ข ถูกต้อง
13.บุคคลใดต่อไปนี้เป็นข้าราชการการเมือง
ตอบ ง. ข้อ ข และ ค ถูก
14.ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ
ตอบ ง. ติดตาม ประเมินผลนโยบายตามภารกิจ
15.หน่วยงานระดับใดสามารถมีผู้ตรวจราชการได้
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
16.ข้อใดคือบทบาทของคณะตรวจราชการในระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ตอบ ค. ศึกษา วิเคราะห์วิจัย นิเทศติดตามและประเมิน ผลการบริหารและการดำเนินงาน
17.ข้อใดคือบทบาทของกระทรวงศึกษาธิการที่มีต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
18.ในกรณีที่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาไม่อาจจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือการศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับต่ำกว่าปริญญาได้หน่วยงานใดจะเป็นผู้จัด
ตอบ ก. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
19.หน่วยงานอื่นสามารถจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานใดได้บ้างหากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาไม่สามารถจัดได้
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
20.ใครเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสำนักงานรองจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ตอบ ง. ข้อ ก และ ข
21.ใครเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสถานศึกษาของรัฐในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวะศึกษา
ตอบ ง. เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ตอบ ค. ศึกษา วิเคราะห์วิจัย นิเทศติดตามและประเมิน ผลการบริหารและการดำเนินงาน
17.ข้อใดคือบทบาทของกระทรวงศึกษาธิการที่มีต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
18.ในกรณีที่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาไม่อาจจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือการศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับต่ำกว่าปริญญาได้หน่วยงานใดจะเป็นผู้จัด
ตอบ ก. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
19.หน่วยงานอื่นสามารถจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานใดได้บ้างหากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาไม่สามารถจัดได้
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
20.ใครเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสำนักงานรองจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ตอบ ง. ข้อ ก และ ข
21.ใครเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสถานศึกษาของรัฐในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวะศึกษา
ตอบ ง. เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น